วันที่ 16 กรกฏาคม 2555
หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory Unit)
หน่วยความจำสำรอง หรือหน่วยเก็บข้อมูลรอง เป้นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดเวลาไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลักคือ
1.ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2.ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3.ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง ...
หน่วยความจำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่อยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเถทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ซิปดิสก์ ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็กหน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรองนี้ ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ปกติ
ส่วนแสดงผลข้อมูล
ส่วนแสดงผลข้อมูล คือส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ์( Printer) เครื่องพิมพ์ภาพ Ploter และ ลำโพง (Speaker) เป็นต้น
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (PEOPLEWARE)
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น อาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบ โครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (PEOPLEWARE) 1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน 2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (System Analyst หรือ SA)
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator)
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entry Operator)
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (PEOPLEWARE) 1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (System Analyst หรือ SA)
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator)
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entry Operator)
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (System Analyst หรือ SA)
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator)
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entry Operator)
ซอฟต์แวร์ (SOFTWARE)
ซอฟต์แวร์ หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึง ลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ ซอฟต์แวร์นั้น นอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ หุ่นยนต์ในโรงงาน หรือ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ
หน้าที่ของซอฟแวร์
ซอฟแวร์ ทำหน้าที่เป็นตัวต่อเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์
ประเภทของซอฟแวร์ มี 3 ประเภท คือ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานนี้เป็นซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้
UNIX เป็นระบบ OS ที่สามารถใช้ร่วมกันได้หลายคน (Multiuser) หรือเป็นระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย โดยที่ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีชื่อและพาสเวิร์ดส่วนตัว และสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ทั่วโลก โดยผ่านทางสายโทรศัพท์และมี Modem เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูลหรือโอนย้ายข้อมูล นิยมใช้อย่างแพร่หลายในมหาวิทยาลัย หน่วยงานรัฐบาล หรือบริษัทเอกชนที่มีระบบคอมพิวเตอร์ใหญ่ ๆ ใช้ ในระบบยูนิกซ์เองก็มีวินโดวส์อีกชนิดหนึ่งใช้เรียกว่า X Windows สำหรับผู้ที่ต้องการใช้ระบบยูนิกซ์ในเครื่องพีซีที่บ้านก็มีเวอร์ชั่นสำหรับพีซีเรียกว่า Linux ซึ่งจะมีคำสั่งพื้นฐานคล้าย ๆ กับระบบยูนิกซ์
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่นการขอดูรายการในสารบบในแผ่นบันทึกการทำสำเนาแฟ้มข้อมูลต่างๆ
2.ตัวแปลภาษา
1.ระะบบปฎิษัติการ หรือที่เรียกว่า Operating System : OS
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติการนี้ระบบปฎิษัติการที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ เป็นต้น
1.1 ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว
1.2 วินโดวส์ เป็นระบบปฎิษัติการที่พัฒนามาตั้งแต่จากดอสโดยให้ผู้ใช้สั่งงานได้
1.3 ยูนิกส์ เป็นระบบปฎิบัติที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบปฎิบัติการยูนิกส์
เป็นระบบปฎิบัติการที่เทคโนโลยีแบบเปิด
1.4 ลีนุกซ์ เป็นระบบปฎิบัติการที่พัฒนามายูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับ
ให้นำพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฎิบัติลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน
1.5 แมคอินทอช เป็นระบบปฎิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอชส่วนมากนำ
ไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้มากในสำนักพิมพ์ต่างๆ
1.ประเภทใช้งานเดียว
ระบบปฎิบัติการนี้ละกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น
2.ประเภทใช้ได้หลายงาน
ระบบปฎิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถ
ทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิด
3.ประเภทใช้งานหลายคน ( Multi-user )
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมี
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน จึงต้องมีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกทำงานเสณ็จในเวลา
ประเภทของซอฟแวร์ระบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ระบบปฏิบัติการ OS (Operating System) คือ โปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่ควบคุมการใช้งานส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมหน่วยความจำ ควบคุมหน่วยประมวลผล ควบคุมหน่วยรับและควบคุมหน่วยแสดงผล ตลอดจนแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพในการทำงานสูงที่สุด และสามารถใช้อุปกรณ์ทุกสาวนของคอมพิวเตอร์และช่วยจัดการกระบวนการพื้นฐานที่สำคัญ ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นการเปิด หรือปิดไฟล์ การสื่อสารกันระหว่างชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในเครื่อง การส่งข้อมูลออกสู่เครื่องพิมพ์หรือสู่จอภาพ เป็นต้น ก่อนที่คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะสามารถอ่านไฟล์ต่าง ๆ หรือสามารถใช้ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้จะต้องผ่านการดึงระบบปฏิบัติการออกมาฝังตัวอยู่ในหน่าวความจำก่อน ปัจจุบันนี้มีโปรแกรมระบบบอยู่หลายตัวด้วยกันซึ่งแต่ละตัวนั้นก็เป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการเหมือนกัน แต่ต่างกันที่ลักษณะการทำงานจะไม่เหมือนกัน เช่น ดอส วินโดวสื ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
DOS (Disk operating System) เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมาตั้งแต่ในอดีตออกมาพร้อมกับเครื่องพีซีของไอบีเอ็มรุ่นแรก ๆ จากนั้นก็มีการพัฒนารุ่นใหม่ออกมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเวอร์ชั่นสุดท้ายคือ เวอร์ชั่น 6.22 หลังจากที่มีการประกาศใช้วินโดวส์95 ก็คงจะไม่ผลิต DOS เวอร์ชชั่นใหม่ออกมาแล้ว โดยทั่วไปจะนิยมใช้วินโดวส์ 3. x ซึ่งถือว่าเป็นโปรแกรมเสริมชนิดหนึ่งที่ใช้ในดอสUNIX เป็นระบบ OS ที่สามารถใช้ร่วมกันได้หลายคน (Multiuser) หรือเป็นระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย โดยที่ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีชื่อและพาสเวิร์ดส่วนตัว และสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ทั่วโลก โดยผ่านทางสายโทรศัพท์และมี Modem เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูลหรือโอนย้ายข้อมูล นิยมใช้อย่างแพร่หลายในมหาวิทยาลัย หน่วยงานรัฐบาล หรือบริษัทเอกชนที่มีระบบคอมพิวเตอร์ใหญ่ ๆ ใช้ ในระบบยูนิกซ์เองก็มีวินโดวส์อีกชนิดหนึ่งใช้เรียกว่า X Windows สำหรับผู้ที่ต้องการใช้ระบบยูนิกซ์ในเครื่องพีซีที่บ้านก็มีเวอร์ชั่นสำหรับพีซีเรียกว่า Linux ซึ่งจะมีคำสั่งพื้นฐานคล้าย ๆ กับระบบยูนิกซ์
WINDOWS เป็นระบบปฏิบัติการที่กำลังนิยมใช้กันมากในปัจจุบัน ซึ่งพัฒนามาถึงรุ่น Windows 2000 แล้ว บริษัทไมโครซอฟต์ได้เริ่มประกาศใช้ MS Windows 95 ครั้งแรกเมื่อ 24 สิงหาคม ค.ศ.1995 โดยมีความคิดที่ว่าจะออกมาแทน MS-DOS และ วินโดวส์3. X ที่ใช้ร่วมกันอยู่ ลักษณะของวินโดวส์ 95 จึงคล้ายกับเป็นระบบโอเอสที่มีทั้งดอสและวินโดวส์อยู่ในตัวเดียวกัน แต่เป็นวินโดวส์ที่มีลักษณะพิเศษกว่าวินโดวส์เดิม เช่น มีคุณสมบัติเป็น Plug and play ซึ่งสามารถจะรู้จักฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งอยู่ในเครื่องได้โดยอัตโนมัติ มีลักษณะเป็นระบบ 32 บิต ในขณะที่วินโดวส์ เดิมเป็นระบบ 16 บิต เป็นต้น บริษัทไมโครซอฟต์ไม่ได้หยุดเพียงแค่วินโดวส์ 95 แต่ได้มีการพัฒนาเพิ่มฟังก์ชันใหม่ ๆ เข้าไป ในที่สุดก็ออกระบบโอเอสตัวถัดมาเป็น MS Windows 98 และ MS Windows 2000ตามลำดับโดยที่มีการติดตั้ง และการใช้งานที่มีพื้นฐานไม่แตกต่างกันมากนัก จึงง่ายสำหรับผู้ใช้ในการปรับตัวเข้ากับระบบโอดอสใหม่ ๆ
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ฯลฯ
23/07/2555
ซอฟต์แวร์ Software
ซอฟต์แวร์ คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ ว่าให้ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วน สมบรูณ์ตามที่ต้องการ เรามองเห็นไม่ได้ หรือสัมผัสไม่ได้ แต่เารสามรถ สร้าง หรือจัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแผ่ได้ด้วยสื่อหลายชนิด เช่น แผ่นบัน แผ่นชีดี
หน้าที่ของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับคอมพิวเตอร์ ประเภทของซอฟต์แวร์ 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
1. ซอฟต์ระบบ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
3. ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ หน่วยงาน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
3. ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ หน่วยงาน
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช่จัดการกับระบบหน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผง ป้อนข้อมูลแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์ นำข้อมูลไปแสดงผลออกจอภาพ หรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์
System sofware หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ Dos,Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic,Fortranหน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
1.ใช่ในการจัดหน่วยรับหน่วยส่งออกส่งคอมพิวเตอร์ เช่น รับรู้ การกดเป็นต่างๆบนแผนแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่นการขอดูรายการในสารบบในแผ่นบันทึกการทำสำเนาแฟ้มข้อมูลต่างๆ
ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
1.ระบบปฎิบัติการ2.ตัวแปลภาษา
1.ระะบบปฎิษัติการ หรือที่เรียกว่า Operating System : OS
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติการนี้ระบบปฎิษัติการที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ เป็นต้น
1.1 ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว
1.2 วินโดวส์ เป็นระบบปฎิษัติการที่พัฒนามาตั้งแต่จากดอสโดยให้ผู้ใช้สั่งงานได้
1.3 ยูนิกส์ เป็นระบบปฎิบัติที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบปฎิบัติการยูนิกส์
เป็นระบบปฎิบัติการที่เทคโนโลยีแบบเปิด
1.4 ลีนุกซ์ เป็นระบบปฎิบัติการที่พัฒนามายูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับ
ให้นำพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฎิบัติลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน
1.5 แมคอินทอช เป็นระบบปฎิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอชส่วนมากนำ
ไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้มากในสำนักพิมพ์ต่างๆ
ชนิดของระบบปฎิบัติการสามารถแบ่งได้ 3 ชนิด
1.ประเภทใช้งานเดียว
ระบบปฎิบัติการนี้ละกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น
2.ประเภทใช้ได้หลายงาน
ระบบปฎิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถ
ทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิด
3.ประเภทใช้งานหลายคน ( Multi-user )
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมี
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน จึงต้องมีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกทำงานเสณ็จในเวลา
ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงซอฟต์แวร์ได้ในภายหลังได้ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษาซึ่งภาษาระดับสูง ได้แก่ ภาษา Basic. Pascal, C และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortren ,Cobol, และภาษาอาร์พีจี
วันที่ 30 /07/2555
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิด จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged Software และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed
กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น-โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
-โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft Excel , Sun Star Office Cals
-โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft PowerPoint, Sun Star Office Impress
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
-โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio , Professional
-โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ Corel IDRAW, Adobe Photoshop
-โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ และเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacie Studio DV
-โปรแกรมสร้างสือมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware , Toolbook Instructor. Adobe Director
-โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น-โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
-โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
-โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet Messaging) อาทิ MSN Messager/ Windows Messager, ICQ
-โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
-โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ในแต่ละยุค ประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น
ภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์
ภาษาระดับสูง ( High-Level Languages )
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์ ( Compiler ) และ อินเทอร์พรีเตอร์ ( Interpreter )
คอมไพเลอ จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเตอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่งบ แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป
ข้อแตกต่าง คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น